วันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่16


บันทึกการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชิ การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันอังคารที่ 2 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2557 เวลา 14.10 น.- 17.30 น.
                                                                     

 Knowledge
     อาจารย์ให้คนที่ยังไม่ได้นำเสนอวิจัย และโทรทัศน์ครูให้ออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน ซึ่งดิฉัน ได้นำเสนอ โทรทัศน์ครู ตอน กับดักมังกรไฟ 

เนื้อเรื่อง

(ลุง ป้า) หนูสองคนมีมังกรเป็นเพื่อนด้วยหรอ  ใช่แล้วค่ะ คุณมังกรใจดีมากเลยค่ะ (มังกร) ไม่ขนาดนั้นหรอก (เด็กชาย) แต่คุณลุงทำหน้าเหมือนไม่สบายใจนะครับ(ลุง) อืม...ก็มีปัญหานิดหน่อยน่ะ (เด็กชาย)ปัญหาอะไรหรอคับ เราพอจะช่วยอะไรได้ไหมครับ(ป้า)เล่าให้หลานไเขาฟังหน่อยสิลุง(ลุง)เรื่องก็คือ มีมังกรตัวนึงก่อนหน้านี้มันเรียนร้อยดีนะ แต่ช่วงนี้มันแกเรมากชอบมายืนพ่นไฟแถวลานนี่แหละ เราก็เลยกลัวว่ามันจะทำให้ไฟไห้มกันหมด เคยเตือนมันแล้วแต่มันไม่ยอมฟัง(มังกร)เอาไว้ผมจะลองเตือนให้เองครับ(เด็กชาย)ฉันว่าเราควรหาทางสั้งสอนมันเลยดีกว่า(เด็กหญิง)แล้วเราจะทำยังไงหละ(เด็กชาย)ฉันคิดออกแล้ว ทุกคนฟังนะ.......จากนั้นทุกคนก็วางแผนจัดการเจ้ามังกรพ่นไฟ..(มังกรร้าย)แกเป็นใครมาอยู่แถวนี้(มังกรดี)มีคนฝากมาบอก นายน่ะเลิกพ่นไฟแถวนี้ได้แล้ว(มังกรร้าย)หัวเราะ 55555 ยุ่งนักเราะ พูดจบมันก็พ้นไฟใส่มังกรดี ไม่นานมังกรร้ายก็ตกลงไปในหลุ่มที่ทุกคนวางแผนไว้ และมังกรร้ายก็สัญญาว่าจะเลิดพ่นไฟ....จบ...

ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการ์ตูน

ครู ; โอ้โหครูสงใสจังเลยว่าทำไมมังกรจอมโมโหตัวนั้นได้นอนล้มหงายลงไปทั้งๆที่ยังพ่นไฟอยู่ดีๆคะ เด็กๆลองมาช่วยคุณครูคิดหน่ิยสิคะว่าทำไม เอ่ย..
เด็ก; มังกรตัวที่พ่นไฟเดินไม่ดูเลย เลยตก
ครู ; ตกลงไปในอะไรคะ 
เด็ก ; ในหลุม
ครู ; เด็กอยากรู้ไหมคะ
เด็ก ; อยากค่ะ/อยากครับ
ครู ; ถ้าอยากรู้เราต้องลองทำดู
ครู ; เด็กๆสังเกตไหมคะว่าแก่นเอาแผ่นอะไรไปปิดไว้ที่หลุมพลาง
เด็ก ; แป้ง / กระดาษที่มันบาดได้ 
ครู ; เดี๋ยววันนี้คุณครูมีกระดาษแต่ไม่รู้จะใช่แผ่นเดียวกับที่แก่นเอามาใช้ในการ์ตูนหรือเปล่า เดี๋ยวลองดูนะคะ
ครู ; ไหนเด็กไบอกครูซิว่านี่มันคือแผ่นอะไร
เด็ก ;แผ่นที่เอาไว้ลองขนม
ครู ; เดี๋ยวลองสัมผัสดูว่าเป็นแผ่นอะไร ครูจะแจกคนละแผ่นนะคะ ลองจับดูซิคะว่ามันเป็นลักษณะยังไง
เด็ก ; เหมือนแผ่นเหล็ก / มันมีเสียง / มันนุ่ม แล้วก็เห็นเงาตัวเองด้วย
ครู ; มันเป็นสีอะไรรู้ไหมคะ
เด็ก ; สีเทา
ครู; อันนี้นะคะคือแผ่นอลูมิเนียมฟอยล์นั่นเองค่ะ ครูมีอีกหนึ่งอย่างนะคะที่จะมาให่เด็กๆ คือ กระดาษและครูมีอุปกรณ์ที่ทำให้กระดาษทั้งสองอันมาติดกันนั้นก็คือ ... กาวค่ะ 

ขั้นตอนการทดลอง

ครู ; ให้เด็ๆนำแผ่นกระดาษมาทากาว แล้วแปะติดกับอลูมิเนียมฟรอยล์ '' เราต้องรีดให้เรียบๆเลย'' ใครเสร็จแล้วยกมือขึ้นค่ะ เดี๋ยวเรามาดูกันว่าเจ้ามังกรจะตกหลุมพลางของพวกเราหรือปล่าว แต่เราจะต้องเอาไปตากให้แห้งก่อน
ครู ; ไหนขอดูของทุกคนหน่อยสิคะว่าแห้งหรือยัง
เด็ก ; แห้งแล้ว
ครู; ต่อไปครูมีไฟเหมือนมังกรพ่นออกมา/ จุดเทียตั้งไว้ จากนั้นเราจะใช้ไม้หนีบช่วยจับ 
แล้วครูก็จุดไฟเพื่อเริ่มทำการทดลอง ในการทดลองเรจะใช้ด้านอลูมิเนียมฟอยล์อัไฟ เด็กๆลองชวยคุณครูคิดซิว่าถ้าคุณครูกระที่มีอลูมิเนียมฟอยล์ติดอยู่มาอังไฟจะเกิดอะไรขึ้น
เด็ก; ดำค่ะ /ไหม้ครับ /กระดาษข้างกลังก็จะดำ
ครู; งั้นเดี๋ยวมาลองทำดูว่าดำหรือเปล่า เริ่มทำกันเลย
ครู; เมื่อกระดาษอังไฟเกิดการเปลี่ยนแปลงยังไงบ้างคะ
เด็ก ; กระดาษงอ
ครู; แล้วรู้ไหมคะว่าทำไมกระดาษถึงงอ
เด็ก; เทียนมันร้อน

สรุป

เมื่อแผ่นอลูมิเนียมได้รับความร้อนจะยืดออก เนื่องจากเกิดการขยายตัวแต่ถูกบังคับด้วยกระดาษท่ทากาวติดอยู่ข้างบนจึงทำให้แผ่นอลูมิเนียมโค้งงอขึ้นด้านบน ทำให้เจ้ามังกรที่ยืนอยู่ตกลงไปในหลุม และเมื่อปล่อยให้เย็นลงแผ่นอลูมิเนียมก็จะหดตัวกลับสู่สภาพเดิมแต่ถ้าปล่อยให้โดนความร้อนานเกินไปแผ่นกระดาษด้านบนอาจจะไห้มได้


  Applications
      สามารถนำความรูในการ์ตูนไปจัดเป็นนิทานแล้วจัดกิจกรรมเกี่ยมกับกระดาษอลูมิเนียมได้ และความรู้หลังนิทานสามารถนำไปต่อยอดได้

 Evaluation

  -Self; แต่งกายเรียนร้อย เตรียมความพร้อมในการสรุปโทรทัศน์มาเป็นอย่างดี
  -Friends; แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียนและฟังเพื่อนนำเสนอวิจัย
  -Tenchers;แนะนำการหาวิจัย และถาม -ตอบ


บันทึกอนุทินครั้งที่15
บันทึกการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชิ การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันอังคารที่  25 เดือน พฤจิกายน พ.ศ.2557 เวลา 14.10 น.- 17.30 น.
                                                         

    Knowledge


      นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครู ต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว ดังนี้

       1.เรื่อง การกำเนิดเสียง ที่มา โทรทัศน์ครู
       2.วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
       3.เรื่อง สารอาหารในชีวิตประจำวัน ที่มา โทรทัศน์
       4.เรื่อง ไฟฟ้ากับพืช ที่มา โทรทัศน์ครู
       5.วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องแสงที่มีผลต่อทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย
      6.วิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยการทำกิจกรรมน้ำสมุนไพร

กิจกรรม อาจารย์ให้ทำขนม waffle

ส่วนผสม
  1.แป้งทำขนม
  2.ไข่ไก่
  3.เนย
  4.น้ำเปล่า

ขั้นตอนการทำ

  1.เทแป้งใส่ภาชนะที่เตรียมไว้
  2.ใส่ไข่ ใส่เนย น้ำเปล่า แล้วคนให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน
  3.ตักแป้งแบ่งใส่ถ้วยเล็กที่เตรียมไว้
  4.ทาเนยบนเตาแม่พิมพ์แล้วเท่แป้งลงในแม่พิมพ์






Applications
         สามารถนำกิจกรรมและความรู้ที่ได้ในวันนี้ไปเพิ่มเติมความรู้เพื่อใช้ในการเรียนสอนในครั้งต่อไป และกิจกรรมการทำขนมวนนี้สามารถนำไปจัดเป็นกิจจกรรมให้กับเก็กปฐมวัยโดยประยุกต์กิจกรรมให้เหมาะสมตามวัยของเด็ก

Evaluation

      -Self; ตั้งใจเรียนและตั้งใจทำกิจกรรมในวันนี้มากค่ะ ทั้งสนุกและได้ความรู้เพิ่มเติมอีกด้วย
      -Friends ; เพื่อนมาเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียนร้อย และตั้งใจทำกิจกรรมที่อาจารย์นำมาจัดในวันนี้
      -Tencher ; อาจารย์ชี้แนะระหว่างการทำขนม ว่าควรใส่ส่วนผสมอย่างไรขนมถึงจะออกมาสวยและน่ากิน


สรุปวิจัย


ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ กับแบบสืบเสาะหาความรู้
ชื่อผู้วิจัย  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิไล ทองแผ่ 
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี


จุดมุ่งหมาย
1.เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ระหว่างก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ
2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ระหว่างก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้

วิธีการดำเนินการค้นคว้า
กลุ่มตัวอย่าง
เด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 


สมมุติฐานในการศึกษาค้นคว้า
เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการและสืบเสาะหาความรู้โดยใช้สถิติการทดสอบทีละแบบ


เคื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1.แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ จำนวน 24 แผ่น
2.แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้จำนวน 24 แผ่น

ขั้นตอนการดำเนินการทดลอง

1.กำเนินการสอบก่อนเรียนกับนักเรียนทั้งกลุ่ม แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพ้นฐานซึ่งเป็นแบบทดสอบเดียวกันทั้งสองกลุ่ม
2.ผู้วิจัยได้ดำเนินการทดลองสอนตามแผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้กัลกลุ่มทดลองได้แก่ 1) โรงเรียนวัดวังน้ำเย็น กลุ่มโรงเรียนเก้าสุพรรณิการ์ จังหวัดสุพรรณบุรีโดยใช้แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการจำนวน 4 แผน ใช้เวลา 6สัปดาห์ละ 4 วัน วันละ 40 นาที 2) กลุ่มทดลองที่ 2 โรงเรียนวัดคูบัวกลุ่มโรงเรียนเก้าสุพรรณิการ์จังหวัดสุพรรณบุรีโดยใช้แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้จำนวน 24 แผ่น ใช้เวลา 6 สัปดาห์ สปดาห์ละ4 วัน วันละ 40 นาที
3.เมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินการตามที่กำหนดไว้แล้วทำการทดสบหลังเรียนกับนักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม ด้วยแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นแบบทดสอบชุดเดียวกัน
4.วิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับขั้นตอน

สรุป

1.ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยหลังการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้แบบโครงการ สูงกว่าการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5
2.ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นฐาน ของเด็ดปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5
3.ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ไม่แตกต่างกัน

บันทึกอนุทินครั้งที่14
บันทึกการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชิา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันอังคารที่ 18 เดือน พฤจิกายน พ.ศ.2557 เวลา 14.10 น.- 17.30 น.
                                                                     
       Knowledge
          -อาจารย์ให้กลุ่มที่ยังไม่ได้นำเสนอออกมานำเสนอ ดังนี้
         กลุ่มที่ 7  หน่วยนกหงส์หยก
         กลุ่มที่ 8  หน่วยสับปะรด
         กลุ่มที่ 9  หน่วยส้ม

       อาจารย์ให้นำเสนอวิจัย โทัศน์ครูที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ดังนี้
            -เรื่องนมสีกับน้ำยาล้างจาน
            -วิจัยเรื่อง สร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับประสาทสัมผัสทั้ง5
            -วิจัยเรื่อง การบวนการพัฒนาวิทยาศาสตร์พื้นฐานส่งเสริมศิลปะสร้างสรรค์
            -วิจัยเรื่อง ผลการเรียนรู้ทางปรัญญษเศรษฐกิจพอเพียงที่ต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย
            -เรื่องกิจกรรมวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยเรื่อง หนังสือลอย
 กิจกรรม ทาโกยากิ
ส่วนผสม
1.ไข่ไก่
2.ผัก >> (แครอท) (ต้นหอม)
3.ปูอัด
4.ซอส
5.เนย
6.ข้าวสวย

วิธีการทำ
1.ต้นหอม 1 ปูอัด 3เส้น แครอท 2 แท่ง
2.ตีไข่ใส่ถ้วยที่เตรียมไว้
3.ใส่เครื่องปรุงใส่ข้าวสวย และใส่ผักที่หั่นไว้
4.นำไข่ที่ใส่เครื่องปรุงทุกอย่างไปใส่ในเครื่องทำ ทาโกยากิ ที่เตรียมไว้




   Applications
          สามารถนำกิจกรรมในวันนี้ไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยได้โดยต้องมีครูคอยดูแลใกล้ชิดและนำกรนำเสนอวิจัย ไปเป็นแนวทางในการเรียนในครั้งต่อไป

   Evaluation

       -Self ; ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอวิจัยและโทศัทน์ครูและตั้งใจทำกิจกรมมที่อาจารย์นำมาให้ทำ
       -Friends ; ส่วนมากตั้งใจฟังการนำเสนอวิจัย-โทศัทน์ครูและตั้งใจทำกิจกรรมค่ะ
       -Tenchers ; อาจารย์มีกิจกรรมมาให้ทำซึ่งมีความน่าสนใจมาก และก็ชอบมากค่ะ


บันทึกอนุทินครั้งที่13
บันทึกการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชิ การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันอังคารที่ 11 เดือน พฤจิกายน พ.ศ.2557 เวลา 14.10 น.- 17.30 น.
                                                                     
   

    Knowledge

         อาจารย์ให้นำเสนอแผนตามที่ได้แบ่งกลุ่มไว้ วันนี้นำเนอทั้งหมด 6 กลุ่ม

         กลุ่มที่ 1  หน่วยผลไม้ 
         กลุ่มที่ 2  หน่วยแตงโม 
         กลุ่มที่ 3  หน่วยช้าง
         กลุ่มที่ 4  หน่วยข้าวโพด
         กลุ่มที่ 5  หน่วยกล้วย
         กลุ่มที่ 6  หน่วยผีเสื้อ



         กลุ่มของดิฉันได้นำเสนอ การทำน้ำแตงโม โดยการสาธิตการทำน้ำแตงโมปั่น เพื่อนๆในกลุ่มให้ความร่วมมือดี และมีการเตียมความพร้อมมาในการนำเสนอวันนี้

        Applications

          สามารถนำเอากิจกรรม การทำน้ำแตงโมปั่นไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยได้ เพราะการทำน้ำแตงโมปั่นสอนวิธีการทำ การเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ และบอกประโยชน์ โทดของแตงโม
ให้เด็กได้รู้
          
       Evaluation

-Self ; เข้าเรียนตรงเวลา เตรียมการนำเสนอแผนมาได้ดี 
-Friends ; เพื่อนให้ความร่วมมือดีในการนำเสนอค่ะ
-Tenchers ; อาจารย์มีข้อแนะนำต่างๆ และข้อปรับปรุง


บันทึกอนุทินครั้งที่12
บันทึกการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชิ การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันอังคารที่ เดือน พฤจิกายน พ.ศ.2557  เวลา 14.10 น.- 17.30 น.
                                                                     
   

  Knowledge









     Applications

              สามารถนำความรู้ในการเขียนแผนวันนี้ไปพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น และยังนำไปสอนให้สำหรับเด็กปฐมวัยอย่างเหมาะสม

     Evaluation

            -Self ; เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อยตั้งใจเรียนและเขียนแผน
            -Friends ; เพื่อนเข้าเรียนตรงเวลาและส่วนมากตั้งใจเรียน
            -Tenchers ; อาจารย์ชี้แนะในการเขียนแผน แนะนำในสิ่งที่ผิด และเพิ่มเติมสิ่งที่ขาด


บันทึกอนุทินครั้งที่11
บันทึกการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชิ การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

วันอังคารที่ 28เดือน ตุลาคม พ.ศ.2557 เวลา 14.10 น.- 17.30 น.



Knowledge
อาจารย์ให้ทำกิจกรรมประดิษฐ์ต่างๆ ดังนี้


1. ดอกไม้บาน






วาดรูปเป็นรูปดอกไม้แล้วระบายสี จากนั้นตัดกระดาษตามรอยที่วาดและพับกลีบดอกไม้เข้ามาเป็นสี่เหลี่ยม นำไปลอยน้ำ เมื่อดอกไม้อยู่ในน้ำกลีบที่พับไว้จะค่อยไบานออกที่กลีบ


2. ขวดน้ำต่างระดับ





เจาะรูขวดให้เป็น 3 ระดับ แปะเทปกาวไว้แล้วใส่น้ำให้เต็มขวดจากนั้นแกะเทปกาวทีละอัน จะเห็นได้ว่า รูที่อยู่บนสุดจะไหลช้า รูตรงกลางไหลแรงขึ้น และรูสุดท้ายจะไหลแรงที่สุดเกิดจากแรงดันของน้ำ



3.น้ำไหลจากสายยาง






กรอกน้ำใส่ขวดให้เต็ม และยกสา่ยยางขึ้นจะเห็นได้ว่าเมื่อสายยางอยู่ที่สูงน้ำจะไหลเบา แต่เมื่อเอาสายยางลงที่ต่ำน้ำจะไหลแรงและสูงขึ้น


4. ดินน้ำมันลอยน้ำ


นำดินน้ำมันปั้นเป็นวงกลมแล้วนำไปลอยน้ำ ดินน้ำมันจะ แต่เมื่อปั้นดินน้ำมันให้มีขอบด้านข้างสูงขึ้นแล้วนำไปลอยน้ำจะเห็นว่าดินน้ำมันไม่จมน้ำแล้วเมื่อเอาลูกแก้วมาใส่ในดินน้ำมันก็ยังลอยน้ำอยู่เหมือนเดิม






Applications

สามารถนำกิจกรมมต่างๆในวันนี้ไปปรับใช้ในวิชาอื่นได้โดยต้องประยุกต์ให้เหมาะสมกับวิชานั้นๆและสามารถนำกิจกรรมไปจัดให้เด็กได้ทดลองได้จริง


Evaluation

-Self ; วันนี้ตั้งใจทำกิจกรมมทุกกิจกรรมได้ดี และสามารถปั้นดินน้ำมันให้ลอยน้ำได้ เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย
-Friends ; เพื่อนเข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจทำกิจกรรมและสนุกสนานกับทุกกิจกรรม
-Tenchers ; ชอบเวลาอาจารย์นำกิจกรรมมาให้ทำในห้อง เพราะทำให้ไม่เครียดในการเรียนมากจนเกินไป